โครงการ ลดขยะ ลดภาระของช มชนเขาทอง

June 30, 2017 | Author: ภรณ์พันธ์ พิศาลบุตร | Category: N/A
Share Embed Donate


Short Description

Download โครงการ ลดขยะ ลดภาระของช มชนเขาทอง...

Description

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 1

โครงการ ลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง ผูร้ ับผิดชอบโครงการ นายบุญฤทธิ์ หุ่นสุ วรรณ์ รหัสนักศึกษา 5526012 นางสาวจิรภาสมณี คงเหลี่ยม รหัสนักศึกษา 5526003 นางสาวชนนิกานต์ เพชรทอง รหัสนักศึกษา 5526005 นายธนากร ก้อนทอง รหัสนักศึกษา 5526009 นางสาวนํ้าฝน ทะนุ รหัสนักศึกษา 5526010 นางสาวมธุรส จิ๋วสุ ข รหัสนักศึกษา 5526017 นางสาวรัตติกาล พุ่มไพรขจร รหัสนักศึกษา 5526018 นางสาวสุ ธีรา ณ เชียงใหม่ รหัสนักศึกษา 5526022 หลักสู ตรสาธารณสุ ขศาสตรบัณฑิต

อาจารย์ที่ปรึ กษาโครงการ ดร. วีระเดช มีอินเกิด

มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตนครสวรรค์

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 2

ชื่ อโครงการลดขยะ ลดภาระของชุ มชนเขาทอง ผู้รับผิดชอบโครงการ : นายบุญฤทธิ์ หุ่นสุ วรรณ รหัสนักศึกษา นางสาวจิรภาสมณี คงเหลีย่ ม รหัสนักศึกษา นางสาวชนนิกานต์ เพชรทอง รหัสนักศึกษา นายธนากร ก้อนทอง รหัสนักศึกษา นางสาวนํา้ ฝน ทะนุ รหัสนักศึกษา นางสาวมธุรส จิ๋วสุ ข รหัสนักศึกษา นางสาวรัตติกาล พุ่มไพรขจร รหัสนักศึกษา นางสาวสุ ธีรา ณ เชี ยงใหม่ รหัสนักศึกษา ทีป่ รึกษาโครงการ : ดร. วีระเดช มีอนิ เกิด

5526012 5526003 5526005 5526009 5526010 5526017 5526018 5526022

บทคัดย่อ จุดมุ่งหมายในการศึกษาในการศึกษาครั้งนี้เพื่อหาแนวทางในการแก้ไขปั ญหาขยะที่เกิดขึ้นใน ชุมชนตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ จากการศึกษาพบว่าปั ญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนคือ ปริ มาณขยะมีมากทําให้พ้นื ที่ในการจัดเก็บไม่เพียงพอ สาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมการทิ้งขยะใน ชุมชนเขาทอง ซึ่ งไม่มีการคัดแยกขยะหรื อการนําขยะไปใช้ให้เกิดประโยชน์จึงเกิดปั ญหาขยะล้นชุมชน นักศึกษาผูจ้ ดั ทําโครงงานเกี่ยวกับขยะจึงเห็นว่าควรมีการจัดการแก้ไขปั ญหาเกี่ยวกับขยะในชุมชนตําบล เขาทอง โดยมีการรณรงค์ส่งเสริ มในการแยกขยะและการใช้ขยะให้เกิดประโยชน์เพื่อแก้ไขปั ญหาขยะล้น ชุมชน ซึ่ งโครงงานนี้จะทําให้เกิดประโยชน์ต่อชุมชนในด้านปั ญหาขยะและการใช้ประโยชน์จากขยะ ทางนักศึกษาก็จะได้รับประโยชน์ในด้านทฤษฏีการศึกษาเกี่ยวกับขยะและการปฏิบตั ิงานจริ ง

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 3

กิตติกรรมประกาศ โครงการนี้สาํ เร็ จลุล่วงไปด้วยดีได้ดว้ ยความกรุ ณาจากอาจารย์วรี ะเดช มีอินเกิด อาจารย์ที่ปรึ กษา โครงการที่ได้ให้คาํ เสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่ องต่างมาโดยตลอด จนโครงการเรื่ องนี้เสร็ จ สมบูรณ์ ผูด้ าํ เนินโครงการจึงขอขอบพระคุณเป็ นอย่างสู ง ขอขอบคุณผอ.ดิเรก รุ่ งโรจน์ หัวหน้ากองช่างและฝ่ ายโยธา องค์การบริ หารส่ วนตําบลเขาทอง ที่ให้ ข้อมูลปัญหาขยะ ในตําบลเขาทอง ขอขอบคุณอาจารย์สุภาพร คําเรื องฤทธิ์ อาจารย์ที่ปรึ กษาพิเศษที่ให้คาํ แนะนําในการจัดทํา แบบสอบถาม และการคํานวณทางสถิติโดยใช้โปรแกรมSTATA ขอขอบคุณอาจารย์เสริ มพงษ์ คุณาวงศ์ และศศิธร มารัตน์ จากศูนย์ผสู้ ู งอายุ ตําบลเขาทอง อําเภอ พยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ที่ให้ขอ้ มูลเรื่ องการลดขยะและการรี ไซเคิลขยะแก่ผดู ้ าํ เนินโครงการ ขอขอบคุณผูป้ กครองที่ให้คาํ ปรึ กษาและการสนับสนุนในเรื่ องต่างๆรวมทั้งเป็ นกําลังใจที่ดีเสมอมา จนทําให้โครงการนี้สาํ เร็ จลุล่วงไปด้วยดี คณะผูด้ าํ เนินโครงการ

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 4

สารบัญ หน้า กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดย่อ สารบัญ ค บทที่ 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา จุดมุ่งหมายของการศึกษา ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขอบเขตการศึกษา บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่างครบวงจร การคัดแยก เก็บรวบรวม และขนส่ งขยะมูลฝอย เกณฑ์มาตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย จุดรวบรวมขยะมูลฝอยขนาดย่อย การแปรสภาพขยะมูลฝอย การลดและการใช้ประโยชน์ขยะมูลฝอย การนําขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เทคโนโลยีการกําจัดขยะมูลฝอย บทที่ 3 อุปกรณ์และวิธีการดําเนินการ พื้นที่ศึกษา ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ขอ้ มูล บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน แผนภูมิแสดงกิจกรรมที่ทาํ ให้เกิดขยะ แผนภูมิแสดงข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอย แผนภูมิแสดงปริ มาณขยะที่ทิ้งในแต่ละวัน

ข 1 1 1 2 2 3 3 5 9 9 10 11 13 13 15 15 16 17 17 18 19 19 20 24

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 5

บทที่ 5 บทสรุ ป ความมุ่งหมายของการจัดทําโครงการ สรุ ปผล ข้อเสนอแนะ ภาคผนวก

27 27 27 28 29

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 6

บทที่ 1 บทนํา ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา ในปั จจุบนั ปั ญหาเรื่ องขยะนับว่าเป็ นปั ญหาสําคัญทั้งในระดับชุมชนและระดับประเทศ สาเหตุ เนื่องมาจากประชากรในประเทศมีจาํ นวนมากขึ้น ชุมชนก็เพิ่มขึ้น สถานประกอบการต่างๆมีมากขึ้น และ สิ่ งที่ตามมาอย่างเลี่ยงไม่ได้ก็คือ ขยะ ย่อมมีจาํ นวนมากขึ้นตามไปด้วย จนกระทัง่ การกําจัดขยะไม่สมดุลกับ การเพิ่มขึ้นของจํานวนขยะ จึงมีขยะที่เหลือตกค้างรอการกําจัดอยูเ่ ป็ นจํานวนมาก แม้จะมีพ้นื ที่ที่จดั ไว้ เพื่อรองรับขยะแต่ก็ไม่เพียงพอกับปริ มาณขยะที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว สร้างปั ญหาเป็ นอย่างมากทั้งทาง ด้านทัศนวิสัย กลิ่น ความสะอาด และอาจก่อให้เกิด ปั ญหาขยะล้นเมืองได้ “ขยะ” ผูค้ นส่ วนมาก ละเลยและไม่เห็นคุณค่า ทั้งที่ขยะเหล่านั้นหากนํามาคัดแยกอย่างถูกวิธีแล้วจะ สามารถสร้างประโยชน์ได้ และยังสามารถนํากลับมาหมุนเวียนเข้ากระบวนการผลิตเพื่อนํากลับมาใช้ใหม่ ได้อีกครั้ง ซึ่ งเป็ นการประหยัดทรัพยากรและเงินงบประมาณแผ่นดินได้เป็ นจํานวนมาก รวมทั้งปริ มาณขยะ ก็จะจํานวนลงได้มาก ซึ่ งจะส่ งผลดีท้ งั ต่อสิ่ งแวดล้อม ต่อประชากร และต่อประเทศชาติต่อไป ในพื้นที่ตาํ บลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ได้ประสบปั ญหาด้านการจัดการขยะ เช่นเดียวกัน คือ พื้นที่ในการจัดเก็บขยะไม่เพียงพอ เนื่องจากปริ มาณขยะที่เพิ่มมากขึ้น และจากการสอบถาม ผูท้ ี่มีความรู ้เกี่ยวกับข้อมูลขยะในพื้นที่ตาํ บลเขาทอง ทําให้ทราบอีกว่านอกจากปั ญหาปริ มาณขยะที่เพิ่มมาก ขึ้นแล้วยังมีปัญหาการทิ้งขยะของชาวบ้านในตําบลเขาทองที่ไม่เป็ นเวลา ทางคณะผูจ้ ดั ทําได้ตระหนักและ เล็งความสําคัญของปั ญหาดังกล่าวที่เกิดขึ้นจึงจัดตั้งโครงการลดขยะ ลดภาระชุมชนเขาทองขึ้น เพื่อรณรงค์ ในชาวบ้านในตําบลเขาทองจํานวนการทิง้ ขยะลง และเห็นคุณค่าของขยะมากยิง่ ขึ้น จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1. เพื่อทําให้ปริ มาณขยะมูลฝอยในตําบลเขาทองลดจํานวนลง 2. เพื่อปลูกจิตสํานึกและให้ความรู ้แก่ประชาชนในตําบลเขาทองเกี่ยวกับการบริ หารจัดการขยะให้ถูกวิธี ซึ่ ง เป็ นแนวทางหนึ่งในการลดปริ มาณขยะมูลฝอยในชุมชน 3. เพื่อฝึ กกระบวนการคิด วิเคราะห์ และหาแนวทางแก้ไขปั ญหาขยะในชุมชน

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 7

ประโยชน์ ทคี่ าดว่าจะได้ รับ -ปริ มาณของจํานวนขยะลดลง -เพื่อให้คนในท้องถิ่นตําบล เขาทอง ได้มีส่วนร่ วมในการจัดกิจกรรม ลดปริ มาณขยะ คัดแยกขยะ - สร้างจิตสํานึกในการคัดแยกขยะให้แก่คนในชุมชน และคาดว่าคนในท้องถิ่นตําบลเขาทองจะได้รับความรู ้ ตระหนักถึงผลกระทบของปริ มาณขยะที่อาจส่ งผลกระทบต่อคนในชุมชนได้ - คนในท้องถิ่นในตําบลเขาทองจะคัดแยกขยะ ถูกวิธีและเป็ นกิจวัตรประจําวัน - แบ่งเบาภาระในการกําจัดขยะของหน่วยงานส่ วนท้องถิ่น - ป้ องการการแพร่ กระจายของสารพิษ จากขยะมีพิษ และสะดวกแก่การนําไปกําจัดได้อย่างเหมาะสม - สามารถนําขยะที่มีประโยชน์ไปสร้างเป็ นมูลค่าได้ ขอบเขตการศึกษา 1.ขอบเขตด้านเนื้อหา โครงการนี้ได้ศึกษาเกี่ยวกับปั ญหาขยะภายในตําบลเขาทอง 2.ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาปั ญหาขยะโดยการจัดทําแบบสอบถาม ได้แก่ ชาวบ้านตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ จํานวน 11 หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ 1, หมู่ 2, หมู่3, หมู่ 4, หมู่ 5, หมู่ 6, หมู่ 7, หมู่ 8, หมู่ 9 และหมู่ 10 โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป็ นการเลือกสุ่ มตัวอย่าง หมู่บา้ นละ 10 คน 3.ขอบเขตด้านพื้นที่ พื้นที่ ที่ใช้ในการศึกษา หมู่บา้ นตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 8

บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กีย่ วข้ อง การศึกษาแนวทางแก้ไขปั ญหาการเพิ่มจํานวนขึ้นของปริ มาณขยะตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ได้ทาํ การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ดังนี้ แนวทางการจัดการขยะมูลฝอยอย่ างครบวงจร เน้นรู ปแบบของการวางแผนการจัดการขยะมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด สามารถลดปริ มาณ ขยะมูลฝอยที่จะต้องส่ งเข้าไปทําลายด้วยระบบต่างๆ ให้นอ้ ยที่สุด สามารถนําขยะมูลฝอยมาใช้ประโยชน์ท้ งั ในส่ วนของการใช้ซ้ าํ และแปรรู ปเพื่อใช้ใหม่ (Reuse and Recycle) รวมถึงการกําจัดที่ได้ผลพลอยได้ เช่น ปุ๋ ย หมัก หรื อพลังงาน โดยสรุ ปวิธีการดําเนินการตามแนวทางมีดงั นี้ คือ 1. การลดปริ มาณการผลิตมูลฝอย รณรงค์ให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการลดการผลิตมูลฝอยในแต่ ละวันได้แก่ 1.1 ลดการทิ้งบรรจุภณั ฑ์โดยการใช้สินค้าชนิดเติมใหม่ เช่น ผงซัก ฟอก นํ้ายาล้างจาน นํ้ายาทํา ความสะอาดและถ่านไฟฉายชนิดชาร์ ตใหม่ เป็ นต้น 1.2 เลือกใช้สินค้าที่มีคุณภาพมีห่อบรรจุภณั ฑ์นอ้ ย อายุการใช้งานยาวนาน และตัวสิ นค้าไม่เป็ น มลพิษ 1.3 ลดการใช้วสั ดุกาํ จัดยาก เช่น โฟมบรรจุอาหาร และถุงพลาสติก 2. จัดระบบการรี ไซเคิล หรื อรวบรวมเพื่อนําไปสู่ การแปรรู ปเพื่อใช้ใหม่ 2.1 รณรงค์ให้ประชาชนแยกของเสี ยนํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ เช่น กระดาษ พลาสติก และ โลหะ นําไปใช้ซ้ าํ หรื อนําไปขาย/รี ไซเคิลขยะ เศษอาหารนํามาหมักทําปุ๋ ย ในรู ปปุ๋ ยนํ้า หรื อปุ๋ ยหมักเพื่อใช้ในชุมชน

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 9

2.2 จัดระบบที่เอื้อต่อการทําขยะรี ไซเคิล 1) จัดภาชนะ (ถุง/ถัง) แยกประเภทขยะมูลฝอยที่ชดั เจนและเป็ นมาตรฐาน จัดระบบบริ การเก็บโดย  องค์การปกครองส่ วนท้องถิ่นจัดเก็บเอง โดยการจัดเก็บแบ่งเวลาการเก็บ เช่น หากแยกเป็ น 4 ถุง ขยะย่อยสลายได้ ขยะรี ไซเคิล ขยะอันตราย และขยะทัว่ ไป ให้จดั เก็บขยะย่อยสลายและขยะทัว่ ไป ให้จดั เก็บขยะย่อยสลายและขยะทัว่ ไป ทุกวัน ส่ วนขยะรี ไซเคิลและขยะอันตราย อาจจัดเก็บสัปดาห์ละครั้ง หรื อตาม ความเหมาะสม  จัดกลุ่มประชาชนที่มีอาชีพรับซื้ อของเก่าให้ช่วยเก็บขยะรี ไซเคิลในรู ปของ การรับซื้ อโดยการแบ่งพื้นที่ในการจัดเก็บและกําหนดเวลาที่เหมาะสม  ประสานงานกับร้านค้าที่รับซื้ อของเก่าที่มีอยูใ่ นพื้นที่หรื อพื้นที่ใกล้เคียงใน การรับซื้ อขยะรี ไซเคิล  จัดระบบตามแหล่งการเกิดขยะขนาดใหญ่ เช่น ตลาด โรงเรี ยน สถานที่ ราชการ เป็ นต้น 2.3 จัดกลุ่มอาสาสมัครหรื อชมรมหรื อนักเรี ยนให้มีกิจกรรม/โครงการนําขยะมูลฝอยกลับมาใช้ ใหม่ เช่น 1) โครงการขยะรี ไซเคิลแลกสิ่ งของ เช่น ต้นไม้ ไข่ 2) โครงการทําปุ๋ ยนํ้า ปุ๋ ยอีเอ็ม ขยะหอม ปุ๋ ยหมัก 3) โครงการตลาดนัดขยะรี ไซเคิล 4) โครงการธนาคารวัสดุเหลือใช้ 5) โครงการร้านค้าสิ นค้ารี ไซเคิล 2.4 จัดตั้งศูนย์รีไซเคิล หากพื้นที่ที่มีปริ มาณขยะมูลฝอยเกิดขึ้นในแต่ละวันเป็ นปริ มาณมากๆ อาจจะมีการจัดตั้ง ศูนย์คดั แยกขยะมูลฝอยซึ่ งสามารถจะรองรับจากชุมชนใกล้เคียงหรื อรับซื้ อจากประชาชนโดยตรง ซึ่ งอาจให้เอกชนลงทุนหรื ออาจให้สัมปทานเอกชนก็ได้

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 10

3. การขนส่ ง 3.1 ระยะทางไม่ไกลให้รถขนส่ งขยะมูลฝอยไปยังสถานที่กาํ จัดโดยตรง 3.2 ระยะทางไกลและมีปริ มาณขยะมูลฝอยมากอาจจะต้องสร้างสถานีขนถ่าย เพื่อถ่ายเทจากรถ เก็บขนขยะมูลฝอยลงสู่ รถบรรทุกขนาดใหญ่ 4. ระบบกําจัด เนื่องจากขยะมูลฝอยใช้ประโยชน์ใหม่ได้จึงควรจัดการเพื่อกําจัดทําลายให้นอ้ ยที่สุด ควรเลือก ระบบกําจัดแบบผสมผสานเนื่องจากปั ญหาขาดแคลนพื้นที่ จึงควรพิจารณาปรับปรุ งพื้นที่กาํ จัด ขยะมูลฝอยที่มีอยูเ่ ดิม และพัฒนาให้เป็ นศูนย์กาํ จัดขยะมูลฝอย โดยมีข้ นั ตอนดังนี้ 4.1 จัดระบบคัดแยกขยะมูลฝอย 4.2 ระบบกําจัดผสมผสานหลายๆ ระบบในพื้นที่เดียวกัน ได้แก่ ทําปุ๋ ยหมัก ฝังกลบ และวิธี อื่นๆ เป็ นต้น การคัดแยก เก็บรวบรวมและขนส่ งขยะมูลฝอย ในการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จําเป็ นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกขยะ มูลฝอยประเภทต่างๆ ตามแต่ลกั ษณะองค์ประกอบโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อนํากลับไปใช้ ประโยชน์ใหม่ การคัดแยกขยะมูลฝอย สามารถดําเนินการได้ต้ งั แต่แหล่งกําเนิด โดยจัดวาง ภาชนะให้เหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และ สอดคล้องกับระบบการคัดแยกขยะมูลฝอย พร้อมทั้งพิจารณาความจําเป็ นของสถานีขนถ่ายขยะ มูลฝอยและระบบขนส่ งขยะมูลฝอยไปกําจัดต่อไป

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 11

1. หลักเกณฑ์ มาตรฐาน ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1.1 ภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1 ) ถังขยะ เพื่อให้การจัดเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยเป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและลดการ ปนเปื้ อนของขยะมูลฝอยที่มีศกั ยภาพในการนํากลับมาใช้ประโยชน์ใหม่จะต้องมีการ ตั้งจุดรวบรวมขยะมูลฝอย (Station) และให้มีการแบ่งแยกประเภทของถังรองรับขยะ มูลฝอยตามสี ต่างๆ โดยมีถุงบรรจุภายในถังเพื่อสะดวกและไม่ตกหล่น หรื อ แพร่ กระจาย ดังนี้  สี เขียว รองรับขยะที่เน่าเสี ยและย่อยสลายได้เร็ ว สามารถนํามาทําปุ๋ ยหมัก ได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้  สี เหลือง รองรับขยะที่สามารถนํามารี ไซเคิลหรื อขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ  สี เทาฝาสี ส้ม รองรับขยะที่มีอนั ตรายต่อสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม หลอด ไฟฟ้ า ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋ องสี สเปรย์ กระป๋ องยาฆ่าแมลง ภาชนะ บรรจุสารอันตรายต่างๆ  สี ฟ้า รองรับขยะย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็ นพิษและไม่คุม้ ค่าการรี ไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่สาํ เร็ จรู ป ถุงพลาสติก โฟม และฟอยล์ที่ เปื้ อนอาหาร โดยรู ปแบบของถังและสัญลักษณ์การรองรับขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ แสดงไว้ดงั รู ป

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 12

นอกจากนี้ยงั มีถุงพลาสติกสําหรับรองรับขยะมูลฝอยในแต่ละถังโดยมัดปากถุงสี เดียวกับถังที่ รองรับขยะตามประเภทต่างๆดังกล่าวข้างต้น ในกรณี ที่สถานที่มีพ้นื ที่จาํ กัดในการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอยและมีจาํ นวนคนที่ ค่อนข้างมากในบริ เวณพื้นที่นนั่ ควรมีถงั ที่สามารถรองรับขยะมูลฝอยได้ท้ งั 4 ประเภทในถังเดียวกัน โดย แบ่งพื้นที่ของถังขยะมูลฝอยออกเป็ น 4 ช่อง และตัวถังรองรับขยะมูลฝอยทําด้วยสแตนเลส มีฝาปิ ดแยกเป็ น 4 สี ในแต่ละช่องตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ ดังนี้  ฝาสี เขียว รองรับขยะมูลฝอยที่เน่าเสี ยและย่อยสลายได้เร็ ว  ฝาสี เหลือง รองรับขยะมูลฝอยที่สามารถนํามารี ไซเคิล หรื อขายได้  ฝาสี แดง รองรับขยะมูลฝอยที่มีอนั ตรายต่อสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม  ฝาสี ฟ้า รองรับขยะมูลฝอยที่ยอ่ ยสลายไม่ได้ไม่เป็ นพิษและไม่คุม้ ค่าการรี ไซเคิลและมี สัญลักษณ์ขา้ งถัง

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 13

สําหรับสถานที่บางแห่งควรมีถงั คอนเทนเนอร์ ขนาดใหญ่ต้ งั ไว้สาํ หรับให้ ประชาชนทิ้งขยะมูลฝอยแยกประเภทด้วย รายละเอียดดังตาราง ประเภท/ขนาด

สถานที่รวบรวม

หมายเหตุ

1.ถังคอนเทนเนอร์ ความจุ

ห้างสรรพสิ นค้า สวนสาธารณะ

มี 4 ตอน สําหรับใส่ ขยะมูลฝอย 4

4,000-5,000 ลิตร

ตลาด สนามกีฬา

ประเภท

2. ถังขนาดความจุ 120-150

ห้างสรรพสิ นค้า สถานศึกษา

ถังสี เขียว เหลือง เทาฝาส้ม ฟ้ า

ลิตร

สนามกีฬา โรงแรม โรงพยาบาล

หรื อถังเทาหรื อครี มคาดสี เขียว

สถานีบริ การนํ้ามัน ทางเข้า

เหลือง ส้ม ฟ้ า

หมู่บา้ น 3.ถังพลาสติกความจุ 50-60

จุดที่กลุ่มชนส่ วนใหญ่มีกิจกรรม

ลิตร

ร่ วมกันเป็ นโครงการโรง

ถังสี เขียว เหลือง เทาฝาส้ม ฟ้ า

ภาพยนตร์ ฯลฯ 4.ถุงพลาสติก

ครัวเรื อน

ถุงสี เขียว เหลือง แดง ฟ้ า หรื อถุง ดํา คาดปากถุงด้วยเชือกสี เขียว เหลือง แดง ฟ้ า

2. ถุงขยะ สําหรับคัดแยกขยะมูลฝอยในครัวเรื อนและจะต้องมีการคัดแยกรวบรวมใส่ ถุงขยะ มูลฝอยตามสี ต่างๆ ดังต่อไปนี้  ถุงสี เขียว รวบรวมขยะมูลฝอยที่เน่าเสี ย และย่อยสลายได้เร็ วสามารถ นํามาหมักทําปุ๋ ยได้ เช่น ผัก ผลไม้ เศษอาหาร ใบไม้  ถุงสี เหลือง รวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนํามารี ไซเคิลหรื อขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ อะลูมิเนียม  ถุงสี แดง รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอนั ตรายต่อสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม เช่นหลอดไฟฟ้ า ขวดยา ถ่านไฟฉาย

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 14

 ถุงสี ฟ้า รวบรวมขยะมูลฝอยที่ยอ่ ยสลายไม่ได้ไม่เป็ นพิษและไม่คุม้ ค่าการ รี ไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ป ถุงพลาสติก โฟม  ถุงสี แดง รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอนั ตรายต่อสิ่ งมีชีวติ และสิ่ งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋ องสี สเปรย์ กระป๋ อง สารฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่างๆ  ถุงสี ฟ้า รวบรวมขยะมูลฝอยที่ยอ่ ยสลายไม่ได้ไม่เป็ นพิษและไม่คุม้ ค่าการ รี ไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซองบะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ป ถุงพลาสติก โฟม และฟอยล์ที่เปื้ อนอาหาร เกณฑ์ มาตรฐานภาชนะรองรับขยะมูลฝอย 1. ควรมีสัดส่ วนของถังขยะมูลฝอยจากพลาสติกที่ใช้แล้วไม่ต่าํ กว่าร้อยละ 50 โดยนํ้าหนัก 2. ไม่มีส่วนประกอบสารพิษ (toxic substances) หากจําเป็ นควรใช้สารเติมแต่งในปริ มาณที่ น้อยและไม่อยูใ่ นเกณฑ์ที่เป็ นอันตรายต่อผูบ้ ริ โภค 3. มีความทนทาน แข็งแรงตามมาตรฐานสากล 4. มีขนาดพอเหมาะมีความจุเพียงพอต่อปริ มาณขยะมูลฝอย สะดวกต่อการถ่ายเทขยะมูลฝอย และการทําความสะอาด 5. สามารถป้ องกัน แมลงวัน หนู แมว สุ นขั และสัตว์อื่นๆ ไม่ให้สัมผัสหรื อคุย้ เขี่ยขยะมูลฝอย ได้ จุดรวบรวมขยะมูลฝอยขนาดย่ อย เพื่อสะดวกในการเก็บรวบรวมและประหยัด จึงต้องมีการตั้งจุดรวบรวมขยะมูลฝอยขึ้น โดยจุด รวบรวมขยะมูลฝอยจะกําหนดไว้ตามสถานที่ต่างๆได้แก่ หมู่บา้ น โรงอาหาร โรงภาพยนตร์ โดยมีภาชนะ รองรับตั้งไว้เป็ นจุด ๆ เช่นหมู่บา้ นจัดสรร กําหนดให้จุดรวบรวม 1 จุด ต่อจํานวนครัวเรื อง 50-80 หลังคา เรื อน จุดแรกจะตั้งที่ปากประตูทางเข้าหมู่บา้ นสําหรับ อพาร์ ทเมนต์จะตั้งที่ลานจอดรถ บ้านที่อยูใ่ นซอยจุด แรกจะตั้งหน้าปากซอย แต่ละครัวเรื อนจะรวบรวมขยะมูลฝอยที่คดั แยกได้โดยถุงพลาสติก ตามประเภทของ สี ต่างมาทิ้งที่จุดรวบรวมขยะมูลฝอย

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 15

การแปรสภาพขยะมูลฝอย ในการจัดการขยะมูลฝอย อาจจัดให้มีระบบที่ช่วยเพิม่ ประสิ ทธิ ภาพด้วยการแปรสภาพขยะมูลฝอย คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพลักษณะทางกายภาพเพื่อลดปริ มาณ เปลี่ยนแปลงรู ปร่ างโดยวิธีคดั แยกเอาวัสดุที่ สามารถหมุนเวียนใช้ประโยชน์ได้ออกมา วิธีการบดให้มีขนาดเล็กลง และวิธีอดั เป็ นก้อนเพื่อลดปริ มาตร ของขยะมูลฝอยให้ได้ร้อยละ20-75 ของปริ มาตรเดิม ทั้งนี้ข้ ึนอยูก่ บั ประสิ ทธิ ภาพของเครื่ องมือและลักษณะ ขยะมูลฝอยตลอดจนใช้วธิ ี การห่อหุ ม้ หรื อการผูกรัดก้อนขยะมูลฝอยให้เป็ นระเบียบมากยิง่ ขึ้น ผลที่ได้รับ จากการแปลสภาพมูลฝอยนี้ จะช่วยให้การเก็บรวบรวมขนถ่าย และขนส่ งได้สะดวกขึ้น สามารถลดจํานวน เที่ยวของการขนส่ ง ช่วยให้ไม่ปลิวหล่นจากรถบรรทุก และช่วยรี ดเอานํ้าออกจากขยะมูลฝอย ทําให้ไม่มีน้ าํ ชะมูลฝอยรั่วไหลขณะขนส่ ง ตลอดจนเพิ่มประสิ ทธิ ภาพ การกําจัดขยะมูลฝอยโดยวิธีฝังกลบ โดยสามารถ จัดวางซ้อนได้อย่างเป็ นระเบียบจึงทําให้ประหยัดเวลา และค่าวัสดุในการกลบทับ และช่วยยืดอายุการใช้งาน ของบ่อฝังกลบได้อีกทางหนึ่งด้วย การพิจารณาเครื่ องมือแปรสภาพขยะมูลฝอยสามารถเลือกใช้ได้ตามองค์ประกอบและลักษณะ สมบัติขยะมูลฝอย ประเภทของแหล่งกําเนิด สถานที่ต้ งั ระบบโดยมีปัจจัยที่ควรพิจารณาดังนี้  ความสามารถในการทํางาน : เครื่ องมือจะช่วยทํางานอะไรบ้างให้ได้งานที่ดีข้ ึนกว่าเดิม  ความเชื่อถือได้ : ต้องการบํารุ งรักษามากน้อยเพียงไร  การบริการได้ : การตรวจเช็คและซ่อมแซม สามารถทําเองได้ และผูข้ ายมีบริ การหลังการขาย  ความปลอดภัย : เครื่ องมือมีระบบป้ องกันอันตรายแก่ผใู ้ ช้งาน ซึ่ งอาจเกิดการเลินเล่อหรื อขาด ความรู้ความเข้าใจ  ความสะดวกและง่ ายในการใช้ เครื่องมือประสิ ทธิภาพ : เครื่ องมือมีวธิ ี การใช้ง่ายและสะดวก มีกลไก ควบคุมการทํางาน  ผลกระทบต่ อสิ่ งแวดล้อม : ไม่ก่อให้เกิดเสี ยงดัง กลิ่นรบกวน หรื อมลพิษอื่นๆ  ความสวยงาม : เครื่ องมือไม่ดูเทอะทะ ก่อความรําคาญให้กบั สายตา  ค่ าใช้ จ่าย : ต้องคํานึงถึงเงินลงทุนและค่าบํารุ งรักษารายปี อยูใ่ นระดับราคาที่ยอมรับได้

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 16

การลดและการใช้ ประโยชน์ ขยะมูลฝอย การลดขยะปริมาณขยะมูลฝอย การลดปริ มาณขยะมูลฝอยให้ได้ผลดีตอ้ งเริ่ มต้นที่การคัดแยกขยะมูลฝอยก่อนทิ้งเพื่อไม่ให้เกิดการ ปนเปื้ อน ทําให้ได้วสั ดุเหลือใช้ที่มีคุณภาพสู ง สามารถนําไป Reused-recycle ได้ง่าย รวมทั้งปริ มาณขยะ มูลฝอยที่จะต้องนําไปกําจัดมีปริ มาณน้อยลงด้วย ซึ่ งการคัดแยกขยะมูลฝอย ณ แหล่งกําเนิดนั้นต้อง คํานึงถึงความเหมาะสมของแต่ละชุมชน เช่น ครัวเรื อน ร้านค้า ห้างสรรพสิ นค้า สํานักงาน บริ ษทั สถานที่ราชการต่างๆเป็ นต้น รวมทั้งปริ มาณ และลักษณะสมบัติขยะมูลฝอยที่แตกต่างกันด้วย ทั้งนี้การ คัดแยกขยะมูลฝอยสามารถดําเนินการได้ 4 ทางเลือกคือ ทางเลือกที่ 1 การคัดแยกขยะมูลฝอยทุกประเภทและทุกชนิด ทางเลือกที่ 2 การคัดแยกขยะมูลฝอย 4 ประเภท (Four cans) ทางเลือกที่ 3 การคัดแยกขยะสด ขยะแห้ง และขยะอันตราย (Three cans) ทางเลือกที่ 4 การคัดแยกขยะสดและขยะแห้ง (Two cans)

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 17

ตารางเปรียบเทียบข้ อดีข้อเสี ยของแต่ ละทางเลือก ทางเลือกที่ รู ปแบบ ภาชนะรองรับขยะ มูลฝอย 1 แยกขยะมูลฝอยที่ แบ่งตามประเภท ใช้ได้ใหม่ทุก ขยะมูลฝอย ประเภทและแยก ขยะมูลฝอยที่ตอ้ ง นําไปกําจัดแต่ละวิธี ได้ 2

3

4

ข้ อดี

ข้ อเสี ย

สรุ ปผลงาน

วัสดุที่นาํ กลับไปใช้ ประโยชน์ใหม่ มีคุณภาพดีมาก

-พาชนะเก็บขนต้อง ดีมาก มีประสิ ทธิภาพสู ง สามารถเก็บขนมูล ฝอยที่แยกไว้ได้หมด - เพิ่มจํานวนภาชนะ รองรับขยะมูลฝอย มากขึ้น แยกขยะมูลฝอย 4 แบ่งเป็ นถังขยะรี วัสดุที่นาํ - เพิ่มจํานวนภาชนะ ดี ประเภท (Four cans) ไซเคิล,ขยะทัว่ ไป กลับไปใช้ รองรับขยะมูลฝอย ขยะย่อยสลายได้ ประโยชน์ใหม่ มากขึ้น และขยะอันตราย มีคุณภาพดี แยกขยะสด ขยะแห้ง แบ่งเป็ นถังขยะสด ง่ายต่อการนํา -วัสดุที่นาํ กลับไปใช้ พอใช้ และขยะอันตราย ขยะแห้ง และขยะ ขยะสดไปใช้ ประโยชน์ยงั ปะปน (Three cans) อันตราย ประโยชน์และ กันอยูไ่ ม่ได้แยก ขยะอันตรายไป ประเภท กําจัด แยกขยะสดและขยะ แบ่งเป็ นถังขยะ ง่ายต่อการนํา -สับสนต่อนิยามคํา ต้องปรับปรุ ง แห้ง (Two cans) แห้งและขยะเปี ยก ขยะเปี ยกไปใช้ ว่าขยะเปี ยก ขยะแห้ง ประโยชน์ ทําให้ทิง้ ไม่ถูกต้อง กับถังรองรับ

จากตารางข้างต้น จะเห็นว่า ทางเลือกที่ 1 สามารถรวบรวมวัสดุที่จะนํามาใช้ใหม่ได้ในปริ มาณมาก และมีคุณภาพดีมาก แต่เนื่องจากประชาชนอาจจะยังไม่สะดวกต่อการคัดแยกขยะมูลฝอยทุกประเภท ดังนั้นในเบื้องต้นเพื่อเป็ นการสร้างความคุน้ เคยต่อการคัดแยกขยะมูลฝอยควรเริ่ มที่ทางเลือกที่ 2 คือการ แบ่งการคัดแยกขยะออกเป็ น 4 กลุ่ม (ขยะรี ไซเคิล ขยะย่อยสลายได้ ขยะทัว่ ไป และขยะอันตราย) ซึ่ง เป็ นแนวปฏิบตั ิที่สามารถนําขยะมูลฝอยกลับไปใช้ประโยชน์ได้ใหม่และสะดวกต่อการกําจัดอย่างไรก็ ตามการจะปรับปรุ งรู ปแบบการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอยหรื อไม่น้ นั จะต้องประเมินผลโครงการ ในระยะแรกก่อน

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 18

การนําขยะมูลฝอยกลับมาใช้ ประโยชน์ ใหม่ การนําขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่มีอยูห่ ลายวิธีข้ ึนอยูก่ บั สภาพและลักษณะสมบัติของขยะ มูลฝอยซึ่งสามารถสรุ ปได้เป็ น5แนวทางหลักๆคือ 1. การนําขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (Material Recovery) เป็ นการนํามูลฝอยที่ สามารถคัดแยกได้กลับมาใช้ใหม่ โดยจําเป็ นต้องผ่านกระบวนการแปรรู ปใหม่ (Recycle) หรื อแปรรู ป(Reuse) ก็ได้ 2. การแปรรู ปเพื่อเปลี่ยนเป็ นพลังงาน (Energy Recovery) เป็ นการนําขยะมูลฝอยที่สามารถ เปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้อนหรื อเปลี่ยนเป็ นรู ปก๊าซชีวภาพมาเพื่อใช้ประโยชน์ 3. การนําขยะมูลฝอยจําพวกเศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานหรื อการประกอบอาหารไป เลี้ยงสัตว์ 4. การนําขยะมูลฝอยไปปรับสภาพให้มีประโยชน์ต่อการบํารุ งรักษาดิน เช่นการนําขยะมูล ฝอยสดหรื อเศษอาหารมาหมักทําปุ๋ ย 5. การนําขยะมูลฝอยมาปรับปรุ งพื้นที่โดยการนําขยะมูลฝอยมากําจัดโดยวิธีฝังกลบอย่างถูก หลักวิชาการ (Sanitary Landfill) จะได้พ้นื ที่สาํ หรับการใช้ปลูกพืช สร้างสวนสาธารณะ สนามกีฬา เป็ นต้น เทคโนโลยีการกําจัดขยะมูลฝอย เทคโนโลยีการกําจัดขยะมูลฝอย สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ระบบใหญ่ๆคือ 1. ระบบหมักทําปุ๋ ย เป็ นการย่อยสลายอินทรี ยส์ ารโดยขบวนการทางชีววิทยาของจุลินทรี ย ์ เป็ นตัวการย่อยสลายให้แปรสภาพเป็ นแร่ ธาตุที่มีลกั ษณะค่อนข้างคงรู ป มีสีดาํ ค่อนข้างแห้ง และสามารถใช้ในการปรับปรุ งคุณภาพของดิน ขบวนการหมักทําปุ๋ ยสามารถแบ่งเป็ น 2 ขบวนการ คือ ขบวนการหมักแบบใช้ออกซิเจน (Aerobic Decomposition)ซึ่งเป็ นการสร้าง สภาวะที่จุลินทรี ยช์ นิดที่ดาํ รงชีพโดยใช้ออกซิ เจนย่อยสารอาหารแล้วเกิดการเจริ ญเติบโต อย่างรวดเร็ ว และกลายสภาพเป็ นแร่ ธาตุเป็ นขบวนการที่ไม่เกิดก๊าซกลิ่นเหม็น ส่ วนอีก ขบวนการเป็ นขบวนการหมักแบบไม่ใช้ออกซิ เจน (Anaerobic Decomposition) เป็ นการ สร้างสภาวะให้เกิดจุลินทรี ยช์ นิดที่ดาํ รงชีพโดยไม่ใช้ออกซิ เจน เป็ นตัวช่วยย่อยสารอาหาร และแปรสภาพเป็ นแร่ ธาตุ ขบวนการนี้มกั จะเกิดก๊าซที่มีกลิ่นเหม็น เช่น ก๊าซไข่เน่า (Hydrogen Sulfide) แต่ขบวนการนี้จะมีผลดีที่เกิดก๊าซมีเทน ซึ่ งเป็ นก๊าซที่สามารถนําไปใช้ ประโยชน์เป็ นเชื้อเพลิงได้

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 19

2. ระบบการเผาในเตาเผา เป็ นการทําลายขยะมูลฝอยด้วยวิธีการเผาทําลายในเตาเผาที่ได้รับ การออกแบบก่อสร้างที่ถูกต้องและเหมาะสมโดยต้องให้มีอุณหภูมิในการเผาที่ 850-1200 องศาเซลเซี ยส เพื่อให้การทํางายที่สมบูรณ์ที่สุด แต่ในการเผามักก่อให้เกิดมลพิษด้าน อากาศได้แก่ ฝุ่ นขนาดเล็ก ก๊าซพิษต่างๆ เช่น ซัลเฟอร์ ไดออกไซด์ เป็ นต้น นอกจากนี้แล้ว ยังอาจเกิดไดออกซิ น ซึ่ งเป็ นสารก่อมะเร็ งและเป็ นสารที่กาํ ลังอยูใ่ นความสนใจของ ประชาชน ดังนั้นจึงจําเป็ นต้องมีระบบควบคุมมลพิษทางอากาศและดักไม่ให้อากาศที่ผา่ น ปล่องออกสู่ บรรยากาศมีค่าเกินกว่าค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศจากเตาเผาที่กาํ หนด 3. ระบบฝังกลบอย่ างถูกสุ ขาภิบาล (Sanitary Landfill) เป็ นการกําจัดขยะมูลฝอยโดยการ นําไปฝังกลบในพื้นที่ที่ได้จดั เตรี ยมไว้ซ่ ึ งเป็ นพื้นที่ที่ได้รับการคัดเลือกตามหลบักวิชาการ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม วิศวกรรม สถาปั ตยกรรม และได้รับการยินยอม จากประชาชน จากนั้นจึงทําการออกแบบและก่อสร้าง โดยมีการวางมาตรการป้ องกัน ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น เช่น การปนเปื้ อนของนํ้าเสี ยจากกองขยะมูลฝอยที่เรี ยกว่า นํ้าชะ ขยะมูลฝอย (Leachate) ซึ่ งถือว่าเป็ นนํ้าเสี ยที่มีค่าความสกปรกสู งไหลซึ มลงสู่ ช้ นั นํ้าใต้ดิน ทําให้คุณภาพนํ้าใต้ดินเสื่ อมสภาพลงจนส่ งผลกระทบต่อประชาชนที่ใช้น้ าํ เพื่อการอุปโภค บริ โภค นอกจากนี้ยงั ต้องมีมาตรการป้ องกันนํ้าท่วม กลิ่นเหม็น และผลกระทบต่อสภาพ ภูมิทศั น์ รู ปแบบการฝังกลบอย่างถูกสุ ขาภิบาล อาจใช้วธิ ี ขดุ ให้ลึกลงไปในชั้นดินหรื อการ ถมให้สูงขึ้นจากระดับพื้นดิน หรื ออาจจะใช้ผสมสองวิธี ซึ่ งจะขึ้นอยูก่ บั สภาพภูมิประเทศ

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 20

บทที่ 3 อุปกรณ์ และวิธีการดําเนินการ โครงการนี้เป็ นโครงการเชิงคุณภาพ เครื่ องมือที่ใช้ประกอบด้วยแบบสํารวจ และแบบสัมภาษณ์ ประเภทไม่มีโครงสร้าง แบบการสังเกตแบบมีส่วนร่ วมและไม่มีส่วนร่ วม โดยใช้วธิ ี การเก็บข้อมูลเองโดย ผูจ้ ดั ทําโครงการและวิธีการสัมภาษณ์แบบสนทนากลุ่ม โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาหาแนวทางในการ แก้ไขปั ญหาขยะในพื้นที่ตาํ บลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ ซึ่ งเป็ นพื้นที่ประสบปั ญหาพื้นที่ จัดเก็บขยะไม่เพียงพอต่อปริ มาณขยะมากขึ้น โดยผูจ้ ดั ทําโครงการได้เก็บรวบรวมข้อมูลตามลําดับ ดังนี้ 1. พื้นที่ศึกษา 2. ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง 3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 4. การรวบรวมข้อมูล 5. การวิเคราะห์ขอ้ มูล พืน้ ทีศ่ ึกษา ตําบลเขาทองตั้งอยูท่ างทิศตะวันออกเฉี ยงเหนือของตัวอําเภอพยุหะคีรี และอยูท่ างทิศใต้ของตัว จังหวัดนครสวรรค์ มีระยะห่างจากอําเภอและจังหวัดประมาณ 20 กิโลเมตร ตําบลเขาทองมีพ้นื ที่ประมาณ 84.23 ตร.กม. หรื อประมาณ 52673.75 ไร่ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็ นที่ราบสู งเหมือนแก่การทํานา ทําไร่ และเลี้ยง สัตว์ เป็ นต้น อาณาเขต ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตําบลพระนอน อําเภอเมือง ทิศใต้ ติดต่อกับ ตําบลสระทะเล อําเภอพยุหะคีรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตําบลยางตาล อําเภอโกรกพระ ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตําบลเขากะลา อําเภอพยุหะคีรี

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 21

แผนทีห่ มู่บ้าน

เขาทอง

(อ้างอิงแผนที่ตาํ บลเขาทอง สื บค้นเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2557 จากเว็บไซต์: https://maps.google.co.th) ประชากรและกลุ่มตัวอย่ าง ประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเพื่อต้องการทราบปั ญหาที่เกิดขึ้นในตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ จํานวน 7,455 คน กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการ ศึกษาปั ญหาขยะในชุมชนเขาทอง คือประชากรที่อาศัยอยูใ่ นตําบลจํานวน 100 คน โดยสุ่ มกลุ่มตัวอย่างมาจาก 10หมู่บา้ น ได้แก่ หมู่ 1,หมู่ 2,หมู่ 3,หมู่ 4,หมู่ 5,หมู่ 6,หมู่ 7,หมู่ 8,หมู่ 9 และหมู่ 10 จํานวนหมู่บา้ นละ 10 คน

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 22

เครื่องมือทีใ่ ช้ ในการศึกษา เครื่ องมือที่ผจู ้ ดั ทําโครงการนํามาใช้ในการดําเนินการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย 1. แบบสอบถาม เป็ นแบบสอบถามประเภทที่มีโครงสร้าง ซึ่ งแบ่งออกเป็ น 3 ส่ วน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม ตอนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยภายในชุมชน ตอนที่ 3 ข้อมูลเกี่ยวกับพฤติกรรมการทิ้งขยะของประชาชนในชุมชน 2. แบบสนทนากลุ่ม แบ่งออกเป็ น 1 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 สอบถามข้อมูลเกี่ยวกับขยะภายในชุมชนเขาทอง 3. เครื่ องบันทึกเสี ยง กล้องถ่ายรู ปและสมุดบันทึก การเก็บรวบรวมข้ อมูล โครงการนี้ดาํ เนินการเก็บข้อมูล ระหว่างเดือนพฤศจิกายน 2556 – เดือนกุมภาพันธ์ 2557 โดยผูว้ จิ ยั ใช้การเก็บรวบรวมข้อมูลได้แก่ 1.เก็บรวบรวมข้อมูลจากประชากรที่อาศัยอยูใ่ นตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ เป็ นการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Purposive Sampling) จํานวน 100 คนได้แก่ ประชาชนหมู่ที่ 1 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 2 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 3 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 4 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 5 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 6 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 7 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 8 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 9 จํานวน 10 คน ประชาชนหมู่ที่ 10 จํานวน 10 คน 2.เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิจยั เชิงลึกด้วยการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) โดย เชิญกลุ่มบุคคลที่มีบทบาทหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับปั ญหาขยะภายในชุมชนเขาทอง และแนวทางการแก้ปัญหา ขยะในชุมชน จํานวน 3 คนได้แก่ 1.ผอ.ดิเรก รุ่ งโรจน์ หัวหน้ากองช่างและฝ่ ายโยธา 2.อาจารย์สมพงษ์ คุณาวงศ์ 3.นางศศิธร มารัตน์

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 23

การวิเคราะห์ ข้อมูล ในการศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาขยะในชุมชนตําบลเขาทอง ผูด้ าํ เนินโครงการได้ศึกษาข้อมูลจาก เอกสาร ข้อมูลที่ได้จากการสังเกตและจากการสัมภาษณ์ นํามาดําเนินโครงการลดขยะ ลดภาระชุมชน เขาทอง ด้านวิธีการรวบรวมข้อมูลต่างๆ คือใช้วธิ ี การเก็บรวบรวมข้อมูลต่างๆกันเพื่อรวบรวมข้อมูลเรื่ อง เดียวกัน เช่น ใช้วธิ ี การสังเกตควบคู่กบั การซักถาม พร้อมกันนั้นก็ศึกษาข้อมูลจากแหล่งเอกสาร ประกอบด้วย กรมควบคุมมลพิษ(2547, หน้า 11-29) เป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ขอ้ มูลและอธิบายผลตาม วัตถุประสงค์ของการวิจยั แล้วนําเสนอข้อมูลที่ได้มาสรุ ปอภิปรายผลในเชิงพรรณนาวิเคราะห์ (Descriptive Analysis)

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 24

บทที่ 4 ผลการดําเนินงาน จากการสํารวจข้อมูลเพื่อจัดทําโครงการลดขยะ ลดภาระชุมชนเขาทอง ได้มาจากการลง พื้นที่ในตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัดนครสวรรค์ จากการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและโดย การสัมภาษณ์ พบว่า ปั ญหาที่เกิดขึ้นคือจํานวนขยะมีปริ มาณที่มาก ทําให้พ้นื ที่ในการจัดเก็บขยะไม่เพียงพอ การ วิธีที่ใช้ในการจัดการขยะของตําบลเขาทองคือใช้วธิ ี ฝังกลบ ซึ่ งตั้งอยูท่ ี่หมู่ 8 ตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะ คีรี จังหวัดนครสวรรค์ มีเนื้อที่ 4 ไร่ และพฤติกรรมการจัดการขยะของชาวบ้านในตําบลเขาทองคือไม่มีการ แยกขยะทําให้ปริ มาณขยะยิง่ เพิ่มปริ มาณมากขึ้น เพราะไม่ได้นาํ ไปรี ไซเคิลหรื อใช้ซ้ าํ ปริ มาณขยะจะมีมาก ในหมู่บา้ นที่มีประชากรมาก เช่นในหมู่ 2 และหมู่ 5 ผลการสํารวจจากแบบสอบถามพบว่ากิจกรรมที่ทาํ ให้เกิดขยะส่ วนมากมาจากการอุปโภคบริ โภค ของประชาชนในชุมชนเขาทอง รองลงมาคือการเกษตรกรรมและการค้าขาย ในด้านการจัดการขยะมูลฝอย ภายในชุมชนเขาทอง ชาวบ้านส่ วนใหญ่เห็นว่ามีการจัดการขยะ การคัดแยกขยะ ความเพียงพอของจํานวน ถังขยะและรถเก็บขยะ ความเหมาะสมของบริ เวณที่ต้ งั ถังขยะในพื้นที่ชุมชนมีการจัดการที่ดีแต่ยงั ไม่ค่อย เหมาะสมเท่าที่ควร ส่ วนความถี่ในการจัดเก็บขยะและเวลาในการจัดเก็บขยะมีความเหมาะสมดีแล้ว และใน ด้านปริ มาณขยะที่ทิ้งในแต่ละวัน ชาวบ้านทิ้งขยะประเภทขยะแห้งมากที่สุดและทิ้งขยะประเภทขยะ อิเล็กทรอนิกส์นอ้ ยที่สุด

กิจกรรมที่ทําให้ เกิดขยะ 26.08% 42.55%

การอุปโภคบริโภค การเกษตรกรรม 32.37%

การค้าขาย

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 25

ข้ อมูลเกีย่ วกับการจัดการขยะมูลฝอยภายในชุมชน ตําบลเขาทอง

การจัดการขยะในพืน้ ทีช่ ุมชน

2%

12%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย

37%

มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม 49%

มีและเหมาะสมดีแล้ว

การคัดแยกขยะภายในชุมชน

26%

17%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน 22%

มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม มีและเหมาะสมดีแล้ว

35%

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 26

ความเพียงพอของจํานวนถังขยะ

0% 11%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย

35%

มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม 54%

มีและเหมาะสมดีแล้ว

ความเหมาะสมของความถี่ในการจัดเก็บขยะ

0% 12%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน 53%

35%

มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม มีและเหมาะสมดีแล้ว

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 27

ความเหมาะสมของเวลาในการจัดเก็บขยะ

0%

15%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน

55%

30%

มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม มีและเหมาะสมดีแล้ว

ความเพียงพอของรถเก็บขยะ

0% 28.28%

32.32%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม มีและเหมาะสมดีแล้ว

39.39%

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 28

ความเหมาะสมของบริเวณทีต่ ้ังถังขยะ

0% 10%

ไม่มีการจัดการดังกล่าวเลย 38%

มีแต่ตอ้ งปรับปรุ งอย่างเร่ งด่วน

มีแต่ไม่ค่อยเหมาะสม 52%

มีและเหมาะสมดีแล้ว

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 29

ปริมาณขยะที่ทิง้ ในแต่ ละวัน ขยะเปี ยก 2%

28% 31%

ไม่มีขยะ น้อย ปานกลาง มาก

39%

ขยะแห้ ง

0%

19%

32%

ไม่มีขยะ น้อย ปานกลาง มาก

49%

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 30

ขยะอันตราย

5% 13%

ไม่มีขยะ 43%

น้อย

ปานกลาง มาก

40%

ขยะรีไซเคิล

24%

21%

ไม่มีขยะ

น้อย ปานกลาง 26% 29%

มาก

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 31

ขยะอิเล็กทรอนิกส์ 1% 4%

ไม่มีขยะ

23%

น้อย

ปานกลาง มาก 72%

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 32

บทที่ 5 บทสรุ ป โครงการลดขยะ ลดภาระชุมชนเขาทอง กรณี ศึกษาตําบลเขาทอง อําเภอพยุหะคีรี จังหวัด นครสวรรค์ โดยสรุ ปผลการศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับขยะในตําบลเขาทอง ได้ตามลําดับดังนี้ 1. ความมุ่งหมายของการจัดทําโครงการ 2. สรุ ปผล 3. ข้อเสนอแนะ ความมุ่งหมายของการจัดทําโครงการ 1. เพื่อทําให้ปริ มาณขยะมูลฝอยในตําบลเขาทองลดจํานวนลง 2. เพื่อปลูกจิตสํานึกและให้ความรู ้แก่ประชาชนในตําบลเขาทองเกี่ยวกับการบริ หารจัดการขยะให้ ถูกวิธี ซึ่งเป็ นแนวทางหนึ่งในการลดปริ มาณขยะมูลฝอยในชุมชน 3. เพื่อฝึ กกระบวนการคิด วิเคราะห์ และหาแนวทางแก้ไขปั ญหาขยะในชุมชน สรุ ปผลการจัดทําโครงการ การศึกษาปัญหาขยะในตําบลเขาทอง พบว่าแนวทางในการแก้ไขปั ญหาคือ การลดปริ มาณขยะที่ เกิดขึ้นในชุมชน โดยทางคณะผูด้ าํ เนินโครงการลดขยะ ลดภาระชุมชนเขาทอง เพื่อเป็ นการรณรงค์บอก แนวทางการจัดการขยะโดยการลดปริ มาณขยะมูลฝอยให้ได้ผลดีตอ้ งเริ่ มต้นที่การคัดแยกขยะมูลฝอยก่อนทิง้ เพื่อไม่ให้เกิดการปนเปื้ อน ทําให้ได้วสั ดุเหลือใช้ที่มีคุณภาพสู ง สามารถนําไป Reused-Recycle ได้ง่าย รวมทั้งปริ มาณขยะมูลฝอยที่จะต้องนําไปกําจัดมีปริ มาณน้อยลงด้วย ซึ่ งการคัดแยกขยะมูลฝอยและ การนํา ขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่มีอยูห่ ลายวิธีข้ ึนอยูก่ บั สภาพและลักษณะสมบัติของขยะมูลฝอยซึ่ ง สามารถสรุ ปได้เป็ น 5 แนวทางหลัก ๆ คือ 1.การนําขยะมูลฝอยกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ (Material Recovery) เป็ นการนํามูลฝอยที่สามารถ คัดแยกได้กลับมาใช่ใหม่ โดยจําเป็ นต้องผ่านกระบวนการแปรรู ปใหม่ (Recycle) หรื อแปรรู ป (Reuse) ก็ได้ 2.การแปรรู ปเพื่อเปลี่ยนเป็ นพลังงาน ( Energy Recovery) เป็ นการนําขยะมูลฝอยที่สามารถ เปลี่ยนเป็ นพลังงานความร้อนหรื อเปลี่ยนเป็ นรู ปก๊าซชีวภาพมาเพื่อใช้ประโยชน์ 3.การนําขยะมูลฝอยจําพวกเศษอาหารที่เหลือจากการรับประทานหรื อการประกอบอาหารไปเลี้ยง สัตว์ 4.การนําขยะมูลฝอยไปปรับสภาพให้มีประโยชน์ต่อการบํารุ งรักษาดิน เช่น การนําขยะมูลฝอยสด หรื อเศษอาหารมาหมักทําปุ๋ ย

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 33

ข้ อเสนอแนะ เสนอแก่ชาวบ้าน 1. ลดการใช้ถุงพลาสติกโดยใช้ถุงผ้า ตะกร้าและใช้ปิ่นโตแทนถุงพลาสติก 2. นําขยะเปี ยกมาทําปุ๋ ยหมัก หรื อนํ้าหมักชีวภาพ 3. ให้ชาวบ้านแยกขยะ เสนอแก่องค์การบริ หารส่ วนท้องถิ่น 1. ของบประมาณในการแปรรู ปขยะให้เป็ นพลังงานเชื้อเพลิงและพลังงานไฟฟ้ า 2. ใช้ระบบถังขยะแบบ 3 can systems

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 34

ภาคผนวก

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 35

ขุดบ่อขยะ

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 36

รู ปบ่อขยะ

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 37

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 38

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 39

รถขยะ

โครงการลดขยะ ลดภาระของชุมชนเขาทอง 40

ถังขยะหน้าบ้านแต่ละบ้าน

View more...

Comments

Copyright � 2017 SILO Inc.